ประกันสังคม แต่ละมาตราแตกต่างกันอย่างไร

ประกันสังคม แต่ละมาตราแตกต่างกันอย่างไร


ประกันสังคมถือเป็นสิ่งที่นายจ้างและลูกจ้างในทุก ๆ บริษัทจำเป็นที่จะต้องดำเนินการส่งเงินสมบทบเข้ากองทุนประกันสังคมทุกเดือน โดยหักจากเงินเดือนจำนวน 5 % หรือไม่เกิน 750 บาท เพื่อเป็นหลักประกันในการดำรงชีวิตและได้รับสวัสดิการที่รัฐมอบให้ เมื่อเกิดกรณีที่ไม่คาดคิดเกิดขึ้นแล้วจำเป็นต้องมีค่าใช้จ่าย ไม่ว่าจะเป็น กรณีเจ็บป่วยหรือประสบอันตราย, กรณีคลอดบุตร, กรณีทุพพลภาพ, กรณีเสียชีวิต, กรณีสงเคราะห์บุตร, กรณีชราภาพ หรือกรณีว่างงาน 

ทั้งนี้ประกันสังคมนั้นมีอยู่ทั้งหมด 3 มาตรา โดยแบ่งออกเป็น มาตรา 33 มาตรา 39 และ มาตรา 40 ซึ่งในแต่ละมาตราก็จะแตกต่างกันออกไปทั้งคุณสมบัติของผู้ประกันตนและสวัสดิการต่าง ๆ ที่จะได้รับจากประกันสังคม
 

มาตรา 33 คืออะไร และ ได้รับสิทธิประโยชน์อะไรบ้าง

มาตรา 33 คือ เป็นลูกจ้างที่ทำงานอยู่ในสถานประกอบการที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป ซึ่งมีอายุตั้งแต่ 15 ปีบริบูรณ์ และอายุไม่เกิน 60 ปีบริบูรณ์เท่านั้น

สิทธิประโยชน์ที่ได้รับ

คุ้มครองทั้งหมด 7 กรณีดังนี้

มาตรา 39 คืออะไร และ ได้รับสิทธิประโยชน์อะไรบ้าง

มาตรา 39 คือ เคยเป็นผู้ที่อยู่ในมาตรา 33 มาก่อน ทั้งนี้ได้มีการสมทบเงินมาแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือนและออกจากงานไม่เกิน 6 เดือน นับตั้งแต่วันที่ลาออกจากงาน

สิทธิประโยชน์ที่ได้รับ 

คุ้มครองทั้งหมด 6 กรณีดังนี้

    • เจ็บป่วย
    • คลอดบุตร
    • ทุพพลภาพ
    • เสียชีวิต
    • สงเคราะห์บุตร
    • ชราภาพ

มาตรา 40 คืออะไร และ ได้รับสิทธิประโยชน์อะไรบ้าง

มาตรา 40 คือ บุคคลที่มีอายุไม่ต่ำกว่า 15 ปีบริบูรณ์ และไม่เกิน 60 ปีบริบูรณ์ ซึ่งทำงานโดยไม่มีนายจ้าง 

สิทธิประโยชน์ที่ได้รับ 

คุ้มครองทั้งหมด 3-5 กรณีขึ้นอยู่กับทางเลือก ดังนี้

    • เงินทดแทนการขาดรายได้
    • ทุพพลภาพ
    • ตาย
    • สงเคราะห์บุตร
    • ชราภาพ (บำเหน็จ)

วิธีเช็คสิทธิประกันสังคมด้วยตนเอง ผ่านระบบออนไลน์

กดสมัครสมาชิก

อ่านรายละเอียดให้ครบถ้วน กดยอมรับข้อตกลง และ กดถัดไป

กรอกรายละเอียดให้ครบถ้วน กดปุ่ม ‘ถัดไป’ จากนั้นขอและใส่รหัส OTP ถือว่าการสมัครเสร็จสมบูรณ์

ใส่เลขบัตรประชาชนและรหัสจากนั้นกด ‘เข้าสู่ระบบ’

เพียงเท่านี้ระบบก็จะโชว์รายละเอียดประกันสังคมของท่าน

สามารถอ่านบทความน่าสนใจอื่นๆได้ ที่นี่ คลิก!!

ที่มา : bestreview.asia,ประกันสังคม
 1743
ผู้เข้าชม

บทความที่เกี่ยวข้อง

การพาพนักงานไป Outing ถือเป็นหนึ่งในสวัสดิการหลัก ๆ ที่หลายองค์กรมี เพื่อดึงดูดพนักงานทั้งภายในและภายนอกให้อยากมาร่วมงานกันด้วย โดยวัตถุประสงค์หลักของการไป Outing ก็เพื่อเสริมสร้างความสามัคคี และเพื่อตอบแทนพนักงาน ให้ได้ผ่อนคลายจากการทำงานประจำวันอันตึงเครียดมายาวนาน โดยที่บริษัทจะดูแลเรื่องค่าใช้จ่ายไว้ทั้งหมด
ระบบลงเวลาเข้า-ออกของพนักงาน คือ ระบบที่ช่วยในการบันทึกเวลาการทำงานของพนักงาน ผ่านอุปกรณ์ดิจิทัลต่างๆ ตั้งแต่ เครื่องสแกนลายนิ้วมือ (Finger Scanner), สมาร์ทโฟน (Smart Phone), แท็บเล็ต (Tablet), ตลอดจนอุปกรณ์ต่างๆ ที่สามารถยืนยันตัวตนผู้ใช้งานได้อย่างชัดเจน ปลอดภัย และเชื่อมต่อสู่ระบบข้อมูลกลางอย่างระบบคลาวด์ (Cloud System) ได้ โดยจะระบุเวลาที่พนักงานเข้ามาทำงานและออกจากงานในแต่ละวัน ดูสถิติ ขาด ลา มาสาย ระบบนี้มีบทบาทสำคัญในการบริหารจัดการเวลาและการทำงานของพนักงาน ช่วยให้ฝ่ายทรัพยากรบุคคล (HR) และฝ่ายบริหารสามารถติดตามการทำงานของพนักงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงใช้ข้อมูลที่บันทึกเพื่อคำนวณเงินเดือน สวัสดิการ ค่าล่วงเวลา และการจัดทำรายงานการเข้างานได้อย่างแม่นยำ ตอบโจทย์การทำงานในธุรกิจยุคใหม่ได้อย่างสมบูรณ์แบบ
มนุษย์เงินเดือนบางคนอาจจะไม่รู้ด้วยซ้ำว่า ตัวเองมีสิทธิที่จะเรียกร้อง ค่าชดเชยจากนายจ้าง อันนี้เป็นสิทธิ์ของเรานะ พี่ทุยบอกเลยว่า เงินค่าชดเชย เป็นสิ่งที่นายจ้าง ต้องจ่าย ให้กับพนักงานหรือลูกจ้าง เพื่อช่วยเหลือในกรณีให้ออกจากงาน ซึ่งไม่ได้มาจากทำความผิดของพนักงานหรือลูกจ้าง แต่อาจจะด้วยเหตุผลบางอย่างที่จำเป็นต้องลดจำนวนพนักงานลง
ในแต่ละเดือนที่เราจ่ายเงินสมทบประกันสังคมนั้น ก็จะมีเงินส่วนหนึ่งที่จัดเก็บเข้าเป็นเงินสะสมประกันสังคม ซึ่งเงินส่วนนี้เองเราสามารถเช็คเงินสะสมประกันสังคมได้เองผ่านช่องทางออนไลน์ด้วย มาดูกันครับว่าทำยังไง แล้วยอดเงินประกันสังคมนี้ทำอะไรได้บ้าง

Employee Referral Program หรือ โครงการแนะนำพนักงาน คือระบบที่องค์กรใช้เพื่อกระตุ้นให้พนักงานที่ทำงานอยู่แนะนำบุคคลภายนอกที่มีคุณสมบัติที่เหมาะสมเข้ามาทำงานในตำแหน่งที่เปิดรับ โดยทั่วไปโครงการนี้มักมีการมอบรางวัลหรือโบนัสให้กับพนักงานที่แนะนำคนที่ถูกคัดเลือกและรับเข้าทำงานในองค์กรสำเร็จ โครงการแนะนำพนักงานนี้มีข้อดีหลายประการ เช่น การลดต้นทุนในการจ้างงาน เพิ่มคุณภาพของผู้สมัคร และสร้างความผูกพันให้กับพนักงานในองค์กร
การจัดกะพนักงาน คือ กระบวนการวางแผนและจัดระเบียบเวลาทำงานของพนักงานให้เหมาะสมกับความต้องการขององค์กรในแต่ละช่วงเวลา โดยแบ่งเวลาทำงานออกเป็นหลายช่วง (หรือหลายกะ) เพื่อให้มีพนักงานเพียงพอในการปฏิบัติงานตลอดเวลา เช่น ในกรณีขององค์กรที่เปิดให้บริการตลอด 24 ชั่วโมงหรือมีความต้องการกำลังคนที่เปลี่ยนแปลงไปในแต่ละช่วงเวลา
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์