081-359-6920
,
02-402-6117
sale@prosofthrmi.com
ลงทะเบียน Demo
Menu
Home
Products
Overview
Key Feature
Business Flow
Organization
Personnel
Time Attendance
Payroll
Approve Center
Recruitment
Training
Welfare
Loan Management
Job Control
Management Information
Dashboard
Reports
Employee Self Service (ESS)
Multi Company
Human Capital Management (HCM)
Services
จองอบรม Online
FAQ Online
E-learning
Manual
System Requirements
New Feature HRMI
E-Newsletter
บริการ Maintenance
วิธีการชำระเงิน
Download Brochure
Customers
ลูกค้าของเรา
Success Stories
บรรยากาศการอบรม
More
News & Events
HR Articles
About Us
Company Profile
Organization
Management Team
Our Business
Award & Standard
Prosoft Group
Our Family
Social Enterprise
Job Opportunity
Gallery
Office Location
นโยบายการรักษาข้อมูล
Contact Us
หน้าแรก
การใช้งานโปรแกรม
Payroll
วิธีการใช้งานหน้าจอประมวลผลเวลาเข้าสู่ระบบเงินเดือน(แบบแจกแจง) ทำอย่างไร
วิธีการใช้งานหน้าจอประมวลผลเวลาเข้าสู่ระบบเงินเดือน(แบบแจกแจง) ทำอย่างไร
ย้อนกลับ
หน้าแรก
การใช้งานโปรแกรม
Payroll
วิธีการใช้งานหน้าจอประมวลผลเวลาเข้าสู่ระบบเงินเดือน(แบบแจกแจง) ทำอย่างไร
วิธีการใช้งานหน้าจอประมวลผลเวลาเข้าสู่ระบบเงินเดือน(แบบแจกแจง) ทำอย่างไร
ย้อนกลับ
Q:
วิธีการใช้งานหน้าจอประมวลผลเวลาเข้าสู่ระบบเงินเดือน(แบบแจกแจง) ทำอย่างไร
A:
วิธีการใช้งานหน้าจอประมวลผลเวลาเข้าสู่ระบบเงินเดือน(แบบแจกแจง) ทำอย่างไรวิธีการใช้งานหน้าจอประมวลผลเวลาเข้าสู่ระบบเงินเดือน(แบบแจกแจง) ทำอย่างไร
หน้าจอประมวลผลเวลาเข้าสู่ระบบเงินเดือน(แบบแจกแจง)
เป็นหน้าจอที่ให้ผู้ใช้สามารถทำการประมวลผลเวลาเข้าสู่ระบบเงินเดือนแบบรายพนักงานตามแต่ละงวดการจ่ายได้นอกจากนี้ยังสามารถตรวจสอบข้อมูลที่ได้หลังการประมวลผลเวลาเข้าสู่ระบบเงินเดือนของพนักงานที่ต้องการได้ โดยลักษณะของหน้าจอจะมีลักษณะตามภาพ
โดยเมื่อเปิดหน้าจอขึ้นมาระบบจะมีการแสดงข้อมูลงวดการจ่ายทั้งหมดที่มีอยู่ในระบบออกมาให้และแสดงข้อมูล
พนักงานในแต่ละงวดการจ่ายมาแสดงบนหน้าจอให้อัตโนมัติ
งวดการจ่าย
ในกรณีที่งวดการจ่ายใดได้มีการปิดงวดการจ่ายไปแล้วระบบจะทำการ Set เครื่องหมายกากบาทแสดง
ออกมาที่หน้างวดการจ่ายนั้นๆ ตามภาพ
ซึ่งในกรณีที่งวดการจ่ายนั้นได้มีการปิดงวดไปแล้วระบบจะไม่อนุญาตให้ผู้ใช้ทำการประมวลผลหรือลบการประมวลผลใดๆบนงวดการจ่ายนั้นๆได้อีกโดยจะมีการแจ้ง Message ให้ผู้ใช้ตามภาพ
ในข้อมูลของงวดการจ่ายนั้นจะมีจำแนกข้อมูลพนักงานเป็นระดับพนักงานได้ โดยจะมีทั้งหมด 4 ประเภท คือ
- พนักงานรายชั่วโมง : เมื่อทำการ Expand จะแสดงข้อมูลของพนักงานที่เป็นประเภทพนักงานรายชั่วโมง
-
พนักงานรายเหมา : เมื่อทำการ Expand จะแสดงข้อมูลของพนักงานที่เป็นประเภทพนักงานรายเหมา
-
พนักงานรายเดือน : เมื่อทำการ Expand จะแสดงข้อมูลของพนักงานที่เป็นประเภทพนักงานรายเดือน
-
พนักงานรายวัน : เมื่อทำการ Expand จะแสดงข้อมูลของพนักงาoที่เป็นประเภทพนักงานรายวัน
รูปแบบการประมวลผล
เป็นส่วนทีให้ผู้ใช้เลือกรหัสรูปแบบการประมวลผลเข้าสู่ระบบเงินเดือนตามที่ต้องการได้ โดยเมื่อ
- รหัสรูปแบบการประมวลผลจะมีผลกับทั้ง งวดการจ่ายที่ทำการ Focus เป็นผลให้พนักงานทุกคนที่อยู่
ในงวดการจ่ายดังกล่าวใช้ รูปแบบการประมวลผลดังกล่าว
- เมื่อทำการ Lost Focus ของงวด จะต้อง Clear ค่ารูปแบบการประมวลผลออก
ข้อมูลพนักงาน
เป็นส่วนที่ใช้ในการแสดงข้อมูลพนักงานตามงวดการจ่ายที่ผู้ใช้ทำการคลิกเลือกไว้ โดยจะมี ลักษณะ
การแสดงตามภาพ
ข้อมูลพนักงานประกอบด้วย
1. ลำดับที่ : ใช้ในการแสดงลำดับที่ของพนักงาน
2. S : แสดง Status การประมวลผลถ้าพนักงานคนใดถูกประมวลผลแล้วจะแสดงเครื่องหมายถูก
สีเขียว ถ้ายังไม่ประมวลผลจะไม่แสดงเครื่องหมาย
3. รหัสพนักงาน : แสดงรหัสของพนักงานแต่ละคนที่อยู่ในรูปแบบงวดการจ่ายดังกล่าว
4. ชื่อพนักงาน : แสดงชื่อของพนักงานตามรหัสของพนักงานที่อยู่ในรูปแบบงวดการ จ่ายดังกล่าว
5. หน่วยงาน : แสดงชื่อของหน่วยงานที่พนักงานแต่ละคนสังกัดอยู่
6. ตำแหน่งงาน : แสดงชื่อของตำแหน่งงานของพนักงานแต่ละคน
การประมวลผลเวลาของพนักงาน
การประมวลผลเวลาของพนักงานในแต่ละงวดการจ่ายนั้นผู้ใช้สามารถทำการประมวลผลได้โดยการกดปุ่ม
หรือ กด F2 (Hot key)ได้โดยระบบจะทำการประมวลผลตามข้อมูลพนักงานที่ได้เลือก
เข้ามาและจะมีการแสดง Progress bar เพื่อแจ้งถึง Status ของการประมวลผลเวลาออกมาให้อัตโนมัติ
การลบการประมวลเวลาของพนักงาน
การลบข้อมูลประมวลผลเวลาของพนักงานที่เคยมีการประมวลผลไปก่อนแล้วนั้นผู้ใช้ สามารถทำได้โดย
การกดปุ่ม
หรือ กด F8 (Hot key) ได้โดยระบบจะทำการลบ ข้อมูลประมวลผลเวลาของพนักงานทั้งหมดออกและแสดง Progress bar เพื่อแสดง Status ของการลบการประมวลผลให้อัตโนมัติ
การ Find ข้อมูลพนักงาน
การค้นหาข้อมูลพนักงานที่มีการแสดงอยู่บนหน้าจอนั้นผู้ใช้สามารถทำได้โดยการกดปุ่ม
หรือ F5 (Hot key) เพื่อทำการค้นหาข้อมูลพนักงานได้ตามที่ต้องการ โดยจะมี ลักษณะของหน้าจอตามภาพ
การตรวจสอบข้อมูลประมวลผลเวลา
เป็นการตรวจสอบข้อมูลประมวลผลเวลาของพนักงานแต่ละรหัสตามที่ต้องการได้ โดย ผู้ใช้จะสามารถทำ
ได้ โดยการกดปุ่ม
ระบบจะทำการแสดงหน้าจอที่ใช้สำหรับแสดงข้อมูลรายได้และรายหักต่างๆของพนักงานตามงวดการจ่ายนั้นๆออกมาให้อัตโนมัติโดยหน้าจอที่ใช้สำหรับแสดงรายละเอียดข้อมูลการประมวลผลเวลาของพนักงานจะมีลักษณะดังภาพ
รายละเอียดพนักงาน
เป็นส่วนที่ใช้ในการแสดงข้อมูลพนักงานที่ทำการตรวจสอบข้อมูลประมวลผลเวลาซึ่งจะมีลักษณะดังภาพ
หน้าจอจะแสดงรายละเอียดพนักงานดังนี้
1. รหัสพนักงาน : แสดงรหัสพนักงาน
2. ชื่อพนักงาน : แสดงชื่อพนักงาน
3. ปีภาษี : แสดงปีภาษีที่ทำการเลือกประมวลผล
4. วันที่เริ่มต้นงวด : แสดงวันที่เริ่มต้นงวดของงวดที่ทำการประมวลผล
5. วันที่สิ้นสุดงวด : แสดงวันที่สิ้นสุดงวดของงวดที่ทำการประมวลผล
6. วันที่จ่าย : แสดงวันที่จ่ายของงวดที่ทำการประมวลผล
รายละเอียดประเภทเอกสาร
ประเภทเอกสารที่จะมีการประมวลจากหน้าจอประมวลผลเวลาเข้าสู่ระบบเงินเดือนนั้นจะมีทั้งหมดดังนี้
GN = ส่วนของรายได้และรายหัก เช่น ค่าแรงรายวัน ค่าแรงรายชั่วโมงและวันหยุดนักขัตฤกษ์
OT = ส่วนของรายได้ค่าล่วงเวลา
SH = ส่วนของรายได้และรายหักของกะงาน เช่น หักสาย หักออกก่อน รายได้กะงาน เป็นต้น
SP = ส่วนของรายได้อื่นๆ ที่กำหนดรูปแบบการประมวลผลเข้าระบบเงินเดือน
5782
ผู้เข้าชม
คะแนน
FAQ Online
958
ทั้งหมด
การใช้งานโปรแกรม
916
HR Pro
132
ESS
34
Dashboard
27
Technical
57
Administrator
6
Setup
75
Organization
90
Personnel
124
Payroll
91
Recruitment
18
Time Attendance
72
Training
41
Welfare
17
Loan Management
4
Approve Center
25
Other
91
การติดตั้งโปรแกรม
7
FAQ เชิงเทคนิคโปรแกรม
29
วิธีการปิดสิ้นปี HRMI
6
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ (Cookies) เพื่อให้ท่านได้รับประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น
นโยบายคุกกี้
ตั้งค่าคุกกี้
ยอมรับทั้งหมด
×
ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น
เปิดใช้งานตลอดเวลา
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน
คุกกี้ในส่วนการตลาด
คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com