081-359-6920
,
02-402-6117
sale@prosofthrmi.com
ลงทะเบียน Demo
Menu
Home
Products
Overview
Key Feature
Business Flow
Organization
Personnel
Time Attendance
Payroll
Approve Center
Recruitment
Training
Welfare
Loan Management
Job Control
Management Information
Dashboard
Reports
Employee Self Service (ESS)
Multi Company
Human Capital Management (HCM)
Services
จองอบรม Online
FAQ Online
E-learning
Manual
System Requirements
New Feature HRMI
E-Newsletter
บริการ Maintenance
วิธีการชำระเงิน
Download Brochure
Customers
ลูกค้าของเรา
Success Stories
บรรยากาศการอบรม
More
News & Events
HR Articles
About Us
Company Profile
Organization
Management Team
Our Business
Award & Standard
Prosoft Group
Our Family
Social Enterprise
Job Opportunity
Gallery
Office Location
นโยบายการรักษาข้อมูล
Contact Us
หน้าแรก
News
HR Articles
People Employment
กฎหมายกำหนดให้ลาป่วยได้เท่าที่ป่วยจริง แต่ลาป่วยบ่อยก็เลิกจ้างได้ แต่ได้ค่าชดเชย
กฎหมายกำหนดให้ลาป่วยได้เท่าที่ป่วยจริง แต่ลาป่วยบ่อยก็เลิกจ้างได้ แต่ได้ค่าชดเชย
ย้อนกลับ
หน้าแรก
News
HR Articles
People Employment
กฎหมายกำหนดให้ลาป่วยได้เท่าที่ป่วยจริง แต่ลาป่วยบ่อยก็เลิกจ้างได้ แต่ได้ค่าชดเชย
กฎหมายกำหนดให้ลาป่วยได้เท่าที่ป่วยจริง แต่ลาป่วยบ่อยก็เลิกจ้างได้ แต่ได้ค่าชดเชย
ย้อนกลับ
กฎหมายกำหนดให้ลาป่วยได้เท่าที่ป่วยจริง แต่ลาป่วยบ่อยก็เลิกจ้างได้ แต่ได้ค่าชดเชย
ลาต้องบ่อยแค่ใหน ถึงเลิกจ้างได้ ดูคดีตัวอย่าง
๑) เป็นมะเร็งลาป่วยปีละ ๖๐ วัน
ลูกจ้างป่วยเป็นมะเร็งลำใส้ใหญ่ ลางานเกินกว่าปีละ 60 วัน ถือว่าเป็นการหย่อนสมรรถภาพในการทำงานตามระเบียบ นายจ้างเลิกจ้างได้ ถือว่าเป็นการเลิกจ้างที่เป็นธรรม (คำพิพากษาฎีกาที่ 3634/2525)
๒) ลาป่วยทั้่งเดือน
ลูกจ้างทำงานเป็นหัวหน้าพนักงานขาย ต้องควบคุมดูแลพนักงานขายในการจำหน่ายสินค้าเพื่อหารายได้ให้แก่นายจ้าง แต่ลูกจ้างกลับลาป่วยทั้งเดือนไม่ได้มาทำงานเลย ย่อมก่อให้เกิดความเสียหายแก่นายจ้าง ถือว่าลูกจ้างหย่อนสมรรถภาพในการทำงาน การที่นายจ้างเลิกจ้างด้วยเหตุดังกล่าวจึงเป็นการเลิกจ้างที่มีเหตุอันสมควร มิใช่เป็นการเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรม นายจ้างไม่ต้องจ่ายค่าเสียหาย (คำพิพากษาฎีกาที่ 724/2549)
3) เป็นเบาหวาน ขับรถไม่ได้
ลูกจ้างป่วยเป็นโรคเบาหวานจนไม่สามารถทำงานในหน้าที่คนขับรถได้ โดยไม่อาจคาดหมายได้ว่าลูกจ้างจะหายหรือไม่ และไม่มีตำแหน่งงานอื่นที่เหมาะสมให้ทำ นายจ้างเลิกจ้างได้ ถือว่าเป็นการเลิกจ้างที่เป็นธรรม
4) ลาป่วยบ่อย ลาเรื่อยๆ
ลูกจ้างเข้าทำงานได้ 2 เดือน ลาป่วยทุกเดือน ๆ ละ 1 ถึง 8 วัน เรื่อยมา ถือว่าลูกจ้างเจ็บป่วยจนหย่อนสมรรถภาพในการทำงานนายจ้างเลิกจ้างได้ ไม่ถือว่าเป็นการเลิกจ้างไม่เป็นธรรม(คำพิพากษาฎีกาที่ 2600/2529
5) ลาติดกัน 34 วันและยังลาเรื่อย ๆ
ลูกจ้างเคยลาป่วย 34 วัน ต่อมายังลาป่วยบ่อย ๆ เป็นประจำทุกเดือน แสดงว่าลูกจ้างสุขภาพไม่ดี ไม่สามารถตรากตรำทำงานในหน้าที่คนขับรถได้ นายจ้างจึงเลิกจ้างได้ เป็นการเลิกจ้างที่เป็นธรรม (คำพิพากษาฎีกาที่ 1021/2531)
6) แม้จะเสียสมรรถภาพเพราะทำงานแก่ลูกจ้าง ก็เลิกจ้างได้
ลูกจ้างทำงานด้วยความประมาทเลินเล่อ เป็นเหตุให้สูญเสียสมรรถภาพร่างกาย จนทำงานให้แก่นายจ้างไม่ได้ แม้การประสบอุบัติเหตุจะน่าเห็นใจเพียงใด การเลิกจ้างก็เป็นการเลิกจ้างที่เป็นธรรม (คำพิพากษาฎีกาที่ 4855/2530)
7) สุราเรื้อรัง
ลูกจ้างป่วยเป็นโรคพิษสุราเรื้อรัง เลิกจ้างได้ เป็นการเลิกจ้างที่เป็นธรรม (คำพิพากษาฎีกาที่ 3131/2525)
การเจ็บป่วยจึงเป็นเรื่องที่นายจ้างไมไ่ด้ "ความสามารถ" หรือ "แรงงาน" ของลูกจ้างเพื่อ "ต่างตอบแทน" กับค่าจ้าง การเลิกจ้างจึง "มีเหตุ" ที่ "สมควรและเหมาะสม"
สามารถอ่านบทความน่าสนใจอื่นๆได้ ที่นี่ คลิก!
ที่มา :
กฎหมายแรงงาน
10659
ผู้เข้าชม
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ (Cookies) เพื่อให้ท่านได้รับประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น
นโยบายคุกกี้
ตั้งค่าคุกกี้
ยอมรับทั้งหมด
×
ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น
เปิดใช้งานตลอดเวลา
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน
คุกกี้ในส่วนการตลาด
คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com