081-359-6920
,
02-402-6117
sale@prosofthrmi.com
ลงทะเบียน Demo
Menu
Home
Products
Overview
Key Feature
Business Flow
Organization
Personnel
Time Attendance
Payroll
Approve Center
Recruitment
Training
Welfare
Loan Management
Job Control
Management Information
Dashboard
Reports
Employee Self Service (ESS)
Multi Company
Human Capital Management (HCM)
Services
จองอบรม Online
FAQ Online
E-learning
Manual
System Requirements
New Feature HRMI
E-Newsletter
บริการ Maintenance
วิธีการชำระเงิน
Download Brochure
Customers
ลูกค้าของเรา
Success Stories
บรรยากาศการอบรม
More
News & Events
HR Articles
About Us
Company Profile
Organization
Management Team
Our Business
Award & Standard
Prosoft Group
Our Family
Social Enterprise
Job Opportunity
Gallery
Office Location
นโยบายการรักษาข้อมูล
Contact Us
หน้าแรก
News
HR Articles
People Employment
เล่นไลน์ เฟซบุ๊กไปด้วย ทำงานไปด้วย เลิกจ้างได้ใหม
เล่นไลน์ เฟซบุ๊กไปด้วย ทำงานไปด้วย เลิกจ้างได้ใหม
ย้อนกลับ
หน้าแรก
News
HR Articles
People Employment
เล่นไลน์ เฟซบุ๊กไปด้วย ทำงานไปด้วย เลิกจ้างได้ใหม
เล่นไลน์ เฟซบุ๊กไปด้วย ทำงานไปด้วย เลิกจ้างได้ใหม
ย้อนกลับ
กรณีนายจ้างให้ทำงาน หรือสั่งงานผ่านโทรศัพท์ แต่ลูกจ้างก็มีการพูดคุยเรื่องส่วนตัวผ่านไลน์ หรือเฟซบุ๊กบ้าง หากนายจ้างมีระเบียบห้ามเล่นโทรศัพท์ ปัญหาว่าลูกจ้างใช้พูดคุยในเรื่องงานและเรื่องส่วนตัวปะปนกันถือเป็นการฝ่าฝืนระเบียบของนายจ้างหรือไม่ คำตอบ คือถือเป็นการฝ่าฝืนระเบียบของนายจ้าง แต่ไม่ใช่เป็นกรณีร้ายแรง
ต้องเตือนก่อน หากนายจ้างเลิกจ้างลูกจ้างด้วยเหตุดังกล่าวโดยไม่ได้ตักเตือนเป็นหนังสือก่อนจึงไม่ถือว่าเป็นการทำผิดซ้ำคำเตือน ต้องจ่ายค่าชดเชยแก่ลูกจ้าง อย่างไรก็ตาม การฝ่าฝืนเล่นแชทไลน์ หรือเฟซบุ๊คในเวลทำงานย่อมเป็นการฝ่าฝืนระเบียบ อันเป็นการจงใจขัดคำสั่งอันชอบด้วยกฎหมายของนายจ้าง และเป็นการกระทำอันไม่สมควรแก่การปฎิบัติหน้าที่ของตนให้ลุล่วงไปโดยถูกต้องและสุจริตตาม ป.พ.พ. มาตรา ๕๘๓ นายจ้างจึงเลิกจ้างได้โดยไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้า และถือว่ามีเหตุอันสมควรและเพียงพอ จึงไม่ใช่เป็นการเลิกจ้างไม่เป็นธรรม นายจ้างไม่ต้องจ่ายค่าเสียหายจากการเลิกจ้างไม่เป็นธรรม
ข้อสังเกต
1.คดีนี้ "แม้เป็นการทำผิดวินัยที่ไม่ร้ายแรง" ซึ่งต้องเตือนเป็นหนังสือก่อน หากเลิกจ้างโดยไม่ทำผิดซ้ำหนังสือเตือน ต้องจ่ายค่าชดเชย
2.แต่ก็ไม่ใช่ว่าจะเลิกจ้างไม่ได้ เพราะอาจหยิบเอาเหตุตาม ปพพ. ข้างต้นมาเป็นเหตุเลิกจ้างได้
3.คดีนี้จึงสรุปว่า การแชทเรื่องส่วนตัว ปนกับแชทเรื่องงาน นายจ้างเลิกจ้างได้ เป็นการเลิกจ้างที่เป็นธรรม เพราะกระทำการอันไม่สมควรแก่การปฎิบัติหน้าที่ให้ลุล่วง ไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้า แต่ต้องจ่ายค่าชดเชย
สามารถอ่านบทความน่าสนใจอื่นๆได้ ที่นี่ คลิก!
ที่มา : คําพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษที่ 17/2560,แฟนเพจ
กฎหมายแรงงาน
463
ผู้เข้าชม
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ (Cookies) เพื่อให้ท่านได้รับประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น
นโยบายคุกกี้
ตั้งค่าคุกกี้
ยอมรับทั้งหมด
×
ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น
เปิดใช้งานตลอดเวลา
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน
คุกกี้ในส่วนการตลาด
คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com